ข่าวเด่น

คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขอร่วมแสดงความยินดีกับ ศ.ปฏิบัติ ดร.ชรินทร์ เตชะพันธุ์
ประธานกรรมการอำนวยการคณะสัตวแพทยศาสตร์ ในโอกาสได้รับรางวัลจากกองทุนอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ "รางวัลผู้บริหารดีเด่น ประจำปี 2565"

คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขอแสดงความยินดีกับ ผศ.น.สพ.ดร.อนุชา สธนวงศ์
สังกัดภาควิชาชีวศาสตร์ทางสัตวแพทย์และสัตวแพทย์สาธารณสุข ในโอกาสได้รับรางวัลมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ “ช้างทองคำ” รางวัลอาจารย์ผู้ที่มีผลงานดีเด่นในการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมแก่นักศึกษาประจำปี 2565

หนึ่งในผลงานวิจัยจากคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง First study on the immunohistochemical expression of cyclooxygenase-2 and clinicopathological association in canine hepatoid gland neoplasms ได้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติ Veterinary World ซึ่งอยู่ในฐานข้อมูล ISI Quartile 2 / Scopus Quartile 1 Journal Impact factor 1.98

สามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ http://www.veterinaryworld.org/Vol.15/October-2022/9.pdf

หนึ่งในผลงานวิจัยจากคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง Genetic Diversity and Maternal Lineage of Indo-Pacific Bottlenose Dolphin (Tursiops aduncus) in the Andaman Sea of Thailand ได้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติ Diversity ซึ่งอยู่ในฐานข้อมูล ISI Quartile 2 / Scopus Quartile 1 Journal Impact factor 3.031 (Published : 9 December 2022)

สามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ https://www.mdpi.com/1424-2818/14/12/1093

 คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขอแสดงความยินดีกับ อ.สพ.ญ.กณวีร์ วาฤทธิ์ สังกัดภาควิชาคลินิกสัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า ในการสำเร็จการศึกษา ระดับปริญญาเอก สาขาวิชาวิทยาศาสตร์คลินิกทางสัตวแพทย์ (Veterinary Clinical Science) จาก Colorado State University ประเทศสหรัฐอเมริกา. 

หนึ่งในผลงานวิจัยจากคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง Effect of the COVID-19 pandemic and international travel ban on elephant tourist camp management in northern Thailand ได้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติ Frontiers in Veterinary Science ซึ่งอยู่ในฐานข้อมูล ISI / Scopus Quartile 1 Journal Impact factor 3.471 (Published : 2 December 2022)
.
สามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ https://www.frontiersin.org/.../fvets.2022.1038855/full

คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขอร่วมแสดงความยินดีกับอาจารย์สังกัดภาควิชาคลินิกสัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า ประกอบด้วย

- ผศ.น.สพ.ดร.นิธิดล บูรณพิมพ์ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายศิษย์เก่าและนักศึกษาสัมพันธ์
ในโอกาสได้รับใบอนุมัติบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ สาขาศัลยศาสตร์

- ผศ.สพ.ญ.ดร.คคนางค์ ปิยะรังสี
ในโอกาสได้รับใบอนุมัติบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ สาขาอายุรศาสตร์

ในพิธีมอบอนุมัติบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ ณ วิทยาลัยวิชาชีพการสัตวแพทย์ชำนาญการแห่งประเทศไทย สัตวแพทยสภา เมื่อวันที่ 21- 22 พฤศจิกายน 2565 

 อ.สพ.ญ.ดร.ณัฐกานต์ อวัยวานนท์ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายบริการวิชาการและการศึกษาตลอดชีวิต คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมแสดงความยินดีกับ นศ.สพ.ภูมินทร์ กาคำ ชั้นปีที่ 4 ที่ได้รับพิจารณาให้เข้ารับทุนการศึกษาจาก สัตวแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจำปี 2565 ในงานประชุมวิชาการนานาชาติทางสัตวแพทย์และการเลี้ยงสัตว์ครั้งที่ 45 (The 45th International Conference on Veterinary Science 2022) เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2565 จัดโดยสัตวแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี จ.นนทบุรี 

 คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขอร่วมแสดงความยินดีกับ ศ.คลินิก น.สพ.ดร.สุวิชัย โรจนเสถียร อดีตคณบดีคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ได้รับการยกย่องให้เป็นสัตวแพทย์ตัวอย่าง สายงานเผยแพร่วิชาชีพและบริการสังคม ประจำปี 2565 จากสัตวแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในงาน The 45th International Conference on Veterinary Science 2022 (ICVS Thailand 2022) จัดขึ้นระหว่างวันที่ 23 – 25 พฤศจิกายน 2565 ณ อาคารอิมแพ็ค ฟอรั่ม ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี 

ภาควิชาคลินิกสัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัดงานเลี้ยงรับประทานอาหารกลางวันเพื่อเป็นการแสดงความยินดีกับ รศ.น.สพ.ดร.ชวลิต บุญญาภากร ที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรง ตำแหน่งรองศาสตราจารย์ และอ.สพ.ญ.กณวีร์ วาฤทธิ์ ในโอกาสสอบผ่านการป้องกันวิทยานิพนธ์และได้รับอนุมัติจบการศึกษาในระดับปริญญาเอก

ในโอกาสเดียวกันนี้ ยังเป็นการร่วมยินดีต้อนรับ ผศ.สพ.ญ.พรสวรรค์ พงษ์โสภาวิจิตร กลับจากลาศึกษาต่อ ณ ต่างประเทศ และยินดีต้อนรับ อ.สพ.ญ.ดร.ชมพูนุท เพิ่มคำ อาจารย์น้องใหม่ของภาควิชาคลินิกสัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า

โดยบรรยากาศภายในงานเต็มไปด้วยความเรียบง่ายและอบอุ่นระหว่างรุ่นพี่ และรุ่นน้อง ณ ภาควิชาคลินิกสัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2565  

 คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขอแสดงความยินดีกับ ผศ.สพ.ญ.ดร.จารุวรรณ คนมี สังกัดภาควิชาชีวศาสตร์ทางสัตวแพทย์และสัตวแพทย์สาธารณสุข หน่วยพรีคลินิกทางสัตวแพทย์

ในโอกาสได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ "รองศาสตราจารย์" สาขาวิชาชีวเวชศาสตร์  

ขอแสดงความยินดีกับ รศ.น.สพ.ดร.วีระศักดิ์ ปัญญาพรวิทยา ในโอกาสได้รับทุนจาก มูลนิธิบิลและเมลินดาเกตส์ หรือ มูลนิธิเกตส์ (Bill & Melinda Gates Foundation, Gates Foundation) มูลนิธิเอกชนที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา

เพื่อเข้าร่วมนำเสนอผลงาน หัวข้อ Epidemiology of LSD in Thailand: Epidemiology and spatio-temporal features of LSD outbreaks ในงานสัมมนาเรื่อง “Lumpy Skin Disease Workshop” จัดโดย The Pirbright Institute UK และ GALVmed จะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 17-18 พฤศจิกายน 2565 ณ เมืองดูไบ ประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรสต์

หนึ่งในผลงานวิจัยจากคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง Dexmedetomidine Effectively Sedates Asian Elephants (Elephas maximus) ได้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติ Animals ซึ่งอยู่ในฐานข้อมูล ISI / Scopus Quartile 1 Journal Impact factor 3.231

สามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ https://www.mdpi.com/2076-2615/12/20/2787

 คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขอแสดงความยินดีกับ ผศ.น.สพ.ดร.ชวลิต บุญญาภากร สังกัดภาควิชาคลินิกสัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า คลินิกสัตว์เล็ก ในโอกาสได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ "รองศาสตราจารย์" สาขาวิชาเวชศาสตร์คลินิกทางสัตวแพทย์ 

หนึ่งในผลงานวิจัยจากคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง Genetic diversity and variation in antimicrobial-resistance determinants of non-serotype 2 Streptococcus suis isolates from healthy pigs ได้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติ Microbial Genomics ซึ่งอยู่ในฐานข้อมูล ISI / Scopus Quartile 1 Journal Impact factor 4.868

สามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ https://www.microbiologyresearch.org/content/journal/mgen

หนึ่งในผลงานวิจัยจากคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง Lumpy Skin Disease Outbreaks in Africa, Europe, and Asia (2005–2022): Multiple Change Point Analysis and Time Series Forecast ได้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติ Viruses (Published: 7 October 2022) ซึ่งอยู่ในฐานข้อมูล Scopus Quartile 1 / ISI Quartile 2 Journal Impact factor 5.81

สามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ https://www.mdpi.com/1999-4915/14/10/2203


หนึ่งในผลงานวิจัยจากคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง Development of an immunochromatographic strip test for antigen detection of elephant endotheliotropic herpesvirus in Asian elephants (Elephas maximus) ได้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติ Journal of Virological Methods (Available online 30 September 2022) ซึ่งอยู่ในฐานข้อมูล ISI / Scopus Quartile 3 Journal Impact factor 2.623

สามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ https://doi.org/10.1016/j.jviromet.2022.114627

คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขอแสดงความยินดีกับ สพ.ญ.วราพร กีรติชาญเดชา ศิษย์เก่าคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รุ่นที่ 20 ที่ได้รับรางวัลผู้ประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ที่มีหน่วยกิตสูงสุด ประเภทผู้ประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ชั้นหนึ่งที่มีใบอนุญาตฯ ออกในปี 2564 ที่มีหน่วยกิตการศึกษาต่อเนื่องฯ สูงสุด ในงานประชุมใหญ่สัตวแพทยสภา ณ โรงแรมแกรนด์ริชมอนด์ สไตลิซ คอนเวนชั่น นนทบุรี เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2565

คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 สถาบันหลักยอดเยี่ยมประจำปี พ.ศ. 2564 (พิจารณาจากผลการดำเนินงานการจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่องทางสัตวแพทย์ในปี 2564) จาก คณะกรรมการบริหารศูนย์การศึกษาต่อเนื่องทางสัตวแพทย์ โดย อ.สพ.ญ.ดร.ณัฐกานต์ อวัยวานนท์ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายบริการวิชาการและการศึกษาตลอดชีวิต ได้รับมอบหมายจากคณบดีคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ให้เป็นตัวแทนรับมอบรางวัลดังกล่าวฯ ในงานประชุมใหญ่สัตวแพทยสภา ณ โรงแรมแกรนด์ริชมอนด์ สไตลิซ คอนเวนชั่น นนทบุรี เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2565

ผศ.น.สพ.ดร.นิธิดล บูรณพิมพ์ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายศิษย์เก่าและนักศึกษาสัมพันธ์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมพิธีเทิดพระเกียรติสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ในรัชกาลที่ 9 และเป็นตัวแทนคณบดีคณะสัตวแพทยศาสตร์ มอบโล่ศิษย์เก่าดีเด่น สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ประจำปี 2565 เนื่องในโอกาสวันมหิดล ประจำปี 2565 ให้กับ สัตวแพทย์หญิงบัณฑิตา สภาวจิตร โดยมีสัตวแพทย์หญิงพิมพ์ลดา อิงคนินันท์ เป็นตัวแทนรับมองรางวัลดังกล่าว ในโอกาสเดียวกันนี้ได้มอบทุนการศึกษา "กองทุนหมอเจ้าฟ้า2" ให้กับนักศึกษาที่ได้รับคัดเลือก ณ ห้องประชุมชั้น15 อาคารเฉลิมพระบารมี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2565

 คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขอร่วมแสดงความยินดีกับ ผศ.น.สพ.ดร.รักธรรม เมฆไตรรัตน์ อาจารย์สังกัดหน่วยพรีคลินิกทางสัตวแพทย์ ภาควิชาชีวศาสตร์ทางสัตวแพทย์และสัตวแพทย์สาธารณสุข ที่ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 จากการนำเสนอผลงานในรูปแบบโปสเตอร์ หรือ Third Prize Poster Presentation Award ในงาน The 23rd Khon Kaen Veterinary Annual International Conference (KVAC) 2022 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 1-2 กันยายน 2565 ณ โรงแรมอวานี ขอนแก่น 

คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขอแสดงความขอบคุณและยินดีกับผู้บริจาคเพื่อสนับสนุนการศึกษา ในโอกาสได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์

ชั้นเหรียญทองดิเรกคุณาภรณ์
 - คุณวันทนา ตั่งธนาพร


ชั้นเหรียญเงินดิเรกคุณาภรณ์
 1.คุณชูชาติ กัลมาพิจิตร
 2.พลตำรวจตรี นิยม ด้วงสี
 3.ศ.นส.พ.ดร.กรกฎ งานวงศ์พาณิชย์

หนึ่งในผลงานวิจัยจากคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง Genome-based analysis of infrequent Salmonella serotypes through the Thai pork production chain ได้ตีพิมพ์งานวิจัยในวารสารวิชาการนานาชาติ Frontiers in Microbiology (Published: 25 August 2022) ซึ่งอยู่ในฐานข้อมูล ISI / Scopus Quartile 1 Journal Impact factor 6.064

สามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ https://www.frontiersin.org/.../fmicb.2022.968695/full

หนึ่งในผลงานวิจัยจากคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง Impacts of the Pandemic, Animal Source Food Retailers’ and Consumers’ Knowledge and Attitudes toward COVID-19, and Their Food Safety Practices in Chiang Mai, Thailand ได้ตีพิมพ์งานวิจัยในวารสารวิชาการนานาชาติ International Journal of Environmental Research and Public Health (IJERPH) (Published: 17 August 2022) ซึ่งอยู่ในฐานข้อมูล ISI Quartile 2 / Scopus Quartile 1 Journal Impact factor 4.614

สามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ https://www.mdpi.com/1660-4601/19/16/10187/htm

หนึ่งในผลงานวิจัยจากคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง Simultaneous Protective Immune Responses of Ducks against Duck Plague and Fowl Cholera by Recombinant Duck Enteritis Virus Vector Expressing Pasteurella multocida OmpH Gene ได้ตีพิมพ์งานวิจัยในวารสารวิชาการนานาชาติ Vaccines (Published: 19 August 2022) ซึ่งอยู่ในฐานข้อมูล ISI Quartile 2 / Scopus Quartile 1 Journal Impact factor 4.961

สามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ https://www.mdpi.com/2076-393X/10/8/1358/htm

หนึ่งในผลงานวิจัยจากคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง Spatio-temporal patterns of lumpy skin disease outbreaks in dairy farms in northeastern Thailand ได้ตีพิมพ์งานวิจัยในวารสารวิชาการนานาชาติ Frontiers in Veterinary Science (Published: 4 August 2022) ซึ่งอยู่ในฐานข้อมูล ISI / Scopus Quartile 1 Journal Impact factor 3.471


สามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ https://www.frontiersin.org/.../fvets.2022.957306/full

หนึ่งในผลงานวิจัยจากคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง Incidence of hemoparasitic infections in cattle from central and northern Thailand ได้ตีพิมพ์งานวิจัยในวารสารวิชาการนานาชาติ PeerJ (Published: 10 August 2022) ซึ่งอยู่ในฐานข้อมูล ISI Quartile 2 / Scopus Quartile 1 Journal Impact factor 3.061


สามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ https://peerj.com/articles/13835/

หนึ่งในผลงานวิจัยจากคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง Recombinant Ehrlichia canis GP19 Protein as a Promising Vaccine Prototype Providing a Protective Immune Response in a Mouse Model ได้ตีพิมพ์งานวิจัยในวารสารวิชาการนานาชาติ Veterinary Sciences (Published: 27 July 2022) ซึ่งอยู่ในฐานข้อมูล ISI Q2 / Scopus Q1 Impact factor 2.518

สามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ https://www.mdpi.com/2306-7381/9/8/386/htm

หนึ่งในผลงานวิจัยจากคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง First study on the effect of transforming growth factor beta 1 and insulin-like growth factor 1 on the chondrogenesis of elephant articular chondrocytes in a scaffold-based 3D culture model ได้ตีพิมพ์งานวิจัยในวารสารวิชาการนานาชาติ Veterinary World (Published: 30 July 2022) ซึ่งอยู่ในฐานข้อมูล ISI Quartile 2 / Scopus Quartile 1 Journal Impact factor 1.98

สามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ http://www.veterinaryworld.org/Vol.15/July-2022/35.pdf

หนึ่งในผลงานวิจัยจากคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง Influence of Gallic Acid-Containing Mouth Spray on Dental Health and Oral Microbiota of Healthy Cats—A Pilot Study ได้ตีพิมพ์งานวิจัยในวารสารวิชาการนานาชาติ Veterinary Sciences (Published: 22 June 2022) ซึ่งอยู่ในฐานข้อมูล ISI/Scopus Quartile 1 Impact factor 2.304

สามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ https://www.mdpi.com/2306-7381/9/7/313/htm

หนึ่งในผลงานวิจัยจากคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง Development of Nonstructural Protein-Based Indirect ELISA to Identify Elephant Endotheliotropic Herpesvirus (EEHV) Infection in Asian Elephants (Elephas maximus) ได้ตีพิมพ์งานวิจัยในวารสารวิชาการนานาชาติ Animals ซึ่งอยู่ในฐานข้อมูล ISI/Scopus Impact factor 3.231 Quartile 1


สามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ https://www.mdpi.com/2076-2615/12/14/1747/htm

หนึ่งในผลงานวิจัยจากคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง Immunization of Cattle With Recombinant Structural Ectodomains I and II of Babesia bovis Apical Membrane Antigen 1 [BbAMA-1(I/II)] Induces Strong Th1 Immune Response ได้ตีพิมพ์งานวิจัยในวารสารวิชาการนานาชาติ Frontiers in Veterinary Science ซึ่งอยู่ในฐานข้อมูล ISI/Scopus Quartile 1 Impact factor 3.471

สามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ https://www.frontiersin.org/.../fvets.2022.917389/full

หนึ่งในผลงานวิจัยจากคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง Exploring the predictive capability of machine learning models in identifying foot and mouth disease outbreak occurrences in cattle farms in an endemic setting of Thailand ได้ตีพิมพ์งานวิจัยในวารสารวิชาการนานาชาติ Preventive Veterinary Medicine ซึ่งอยู่ในฐานข้อมูล ISI/Scopus Impact factor 3.372 Quartile 1


สามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ https://www.sciencedirect.com/.../abs/pii/S0167587722001398

หนึ่งในผลงานวิจัยจากคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง Time-Series Analysis for the Number of Foot and Mouth Disease Outbreak Episodes in Cattle Farms in Thailand Using Data from 2010–2020 ได้ตีพิมพ์งานวิจัยในวารสารวิชาการนานาชาติ Viruses ซึ่งอยู่ในฐานข้อมูล ISI Q2 / Scopus Q1 Impact factor 5.818

สามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
https://www.mdpi.com/1999-4915/14/7/1367/htm

หนึ่งในผลงานวิจัยจากคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง Protocatechuic acid as a potent anticarcinogenic compound in purple rice bran against diethylnitrosamine-initiated rat hepatocarcinogenesis ได้ตีพิมพ์งานวิจัยในวารสารวิชาการนานาชาติ Scientific Reports ซึ่งอยู่ในฐานข้อมูล ISI quartile 2 Impact factor 4.996


สามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ https://www.nature.com/articles/s41598-022-14888-2

งานวิจัยเรื่อง Protocatechuic acid as a potent anticarcinogenic compound in purple rice bran against diethylnitrosamine-initiated rat hepatocarcinogenesis มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาสารออกฤทธิ์ของสารสกัดรำข้าวสีที่มีศักยภาพในการป้องกันมะเร็งตับในสัตว์ทดลอง 

 ศ.น.สพ.ดร.กรกฎ งานวงศ์พาณิชย์ คณบดีคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พร้อมด้วย รศ.น.สพ.ดร.ฉัตรโชติ ทิตาราม รองคณบดีฝ่ายวิจัย นวัตกรรม และวิเทศสัมพันธ์ ร่วมแสดงความยินดีกับ ศูนย์เฝ้าระวังสุขภาพหนึ่งเดียว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติด้านการวิจัยและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจำปี 2565 ด้านผลงานวิชาการที่มีผลกระทบสูงต่อสังคม ชื่อผลงาน Participatory One Health Disease Detection (PODD) โดย รศ.น.สพ.ดร. เลิศรัก ศรีกิจการ ผู้อำนวยการศูนย์เฝ้าระวังสุขภาพหนึ่งเดียว เข้ารับรางวัลดังกล่าว ในงาน “มหกรรมงานวิจัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจำปี 2565 (CMU High Impact Research & Innovation Expo 2022)” ณ หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2565 

หนึ่งในผลงานวิจัยจากคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง Polyunsaturated Fatty Acid EAB-277 Supplementation Improved Heart Rate Variability and Clinical Signs in Tracheal Collapse Dogs ได้ตีพิมพ์งานวิจัยในวารสารวิชาการนานาชาติ Frontiers in Veterinary Science ซึ่งอยู่ในฐานข้อมูล ISI/Scopus Impact factor 3.121 Quartile 1

สามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ shorturl.at/bHIMV

งานวิจัยเรื่อง Polyunsaturated Fatty Acid EAB-277 Supplementation Improved Heart Rate Variability and Clinical Signs in Tracheal Collapse Dogs มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของเภสัชภัณฑ์ EAB-277 ต่ออาการทางคลินิก ค่าความผันแปรของหัวใจ (HRV) ภาวะเครียดออกซิเดชัน และภาวะอักเสบในสุนัขที่ป่วยด้วยโรคหลอดลมตีบ

ศ.น.สพ.ดร.วิทยา สุริยาสถาพร สังกัดคลินิกสัตว์เคี้ยวเอื้อง ภาควิชาคลินิกสัตว์บริโภค คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปฏิบัติงานภายใต้ข้อตกลงความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยกับ Asian Satellites Campus Institute (ASCI) มหาวิทยาลัยนาโกย่า ประเทศญี่ปุ่น ในฐานะ Designated Professor ร่วมประชุมกับ ฯพณฯ ท่าน Sakhon Veng รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร การป่าไม้ และการประมง ประเทศกัมพูชา พร้อมคณะทำงาน ว่าด้วยเรื่องการเสริมสร้างความเข้มแข็งและขยายความร่วมมือในการฝึกอบรมทรัพยากรบุคคลเชิงวิชาชีพ สำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐภายใต้สังกัดกระทรวงเกษตร การป่าไม้ และการประมง ประเทศกัมพูชา ทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ เพื่อตอบสนองความต้องการต่อการสร้างและพัฒนาประเทศกัมพูชาในอนาคต โดยมี Prof.Dr.Satoru TSUCHIKAWA คณบดีบัณฑิตทางชีวเกษตร มหาวิทยาลัยนาโกย่า ประเทศญี่ปุ่น เป็นผู้นำคณะทำงานในการเข้าประชุมพบปะพูดคุย เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2565 ณ ที่ทำการกระทรวงเกษตร การป่าไม้ และการประมง ประเทศกัมพูชา


ขอขอบคุณภาพจาก https://www.facebook.com/photo/?fbid=5127377807317078&set=pcb.5127377887317

ศูนย์ชันสูตรโรคสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ห้องปฏิบัติการซีรัมวิทยา ได้ผลการทดสอบ Interlaboratory Comparison ในการตรวจหาแอนติบอดีต่อเชื้อไวรัสโลหิตจาง ในม้า (EIA) ด้วยวิธี Agar Gel Immunodiffusion ประจำปี 2565 “ถูกต้องและอยู่ในเกณฑ์ยอมรับทุกอย่าง (Acceptable)" ตามมาตรฐาน สถาบันสุขภาพสัตว์แห่งชาติ กรมปศุสัตว์

งานวิจัยจากคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง Relationship among Serum Progestagens, Cortisol, and Prolactin in Pregnant and Cycling Asian Elephants in Thailand ได้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติ Veterinary Sciences ซึ่งอยู่ในฐานข้อมูล ISI มี Impact factor 2.304 Quartile 1

ผศ.น.สพ.ดร.นิธิดล บูรณพิมพ์ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายศิษย์เก่าและนักศึกษาสัมพันธ์ ร่วมพิธีมอบเสื้อสูทเชิดชูเกียรติผู้นำองค์กรนักศึกษา ประจำปีการศึกษา 2565 โดยมี ศ.คลินิก นพ.นิเวศน์ นันทจิต อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นประธานในพิธีมอบเสื้อสูทเชิดชูเกียรติฯ และกล่าวให้โอวาท เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2565 ณ ณ ห้องประชุมบัวเรศ คำทอง ชั้น 5 อาคารสำนักงานมหาวิทยาลัย 2 

คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ติดอันดับ 1 สถิติ TCAS65 รอบ 3

 อ่านข้อมูลเพิ่มเติม : https://www.mytcas.com/news/announcement-233

 ขอบคุณข้อมูลภาพจาก TCASter

รศ.น.สพ.ดร.ฉัตรโชติ ทิตาราม รองคณบดีฝ่ายวิจัย นวัตกรรม และวิเทศสัมพันธ์ และผู้อำนวยการศูนย์สุขภาพช้างและสัตว์ป่า คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เข้ารับรางวัลสัตวแพทย์ตัวอย่างคลินิกปฏิบัติสัตว์เลี้ยงแห่งปี (จรัส สืบแสง) ประจำปี พ.ศ.2565 สายวิชาการ "BEST PRACTITOINER OF THE Year 2022" จากสมาคมสัตวแพทย์ผู้ประกอบการบำบัดโรคสัตว์แห่งประเทศไทย ในการประชุมใหญ่สามัญประจำปี 2565 และการประชุมวิชาการบำบัดโรคสัตว์เลี้ยง ครั้งที่ 27 (The 14th VPAT Regional Veterinary Congress - VRVC 2022) วันจันทร์ที่ 20 มิถุนายน 2565 ณ ศูนย์การแสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี จ.นนทบุรี โดยมีตัวแทนคณาจารย์ นักศึกษาทั้งศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบันร่วมแสดงความยินดี

คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขอแสดงความยินดีอย่างยิ่งกับ ศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.วิทยา สุริยาสถาพร สังกัดภาควิชาคลินิกสัตว์บริโภค คลินิกสัตว์เคี้ยวเอื้อง และ รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.ฉัตรโชติ ทิตาราม สังกัดภาควิชาคลินิกสัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า คลินิกช้างและสัตว์ป่า ในโอกาสเข้ารับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี 2565 ชั้นสายสะพาย เบื้องหน้าพระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ณ หอประชุมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2565

คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขอแสดงความยินดีกับ รศ.น.สพ.ดร.ฉัตรโชติ ทิตาราม รองคณบดีฝ่ายวิจัย นวัตกรรม และวิเทศสัมพันธ์ และผู้อำนวยการศูนย์สุขภาพช้างและสัตว์ป่า คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ได้รับ รางวัลสัตวแพทย์ตัวอย่างคลินิกปฏิบัติสัตว์เลี้ยงแห่งปี (จรัส สืบแสง) ประจำปี พ.ศ.2565 สายวิชาการ จากสมาคมสัตวแพทย์ผู้ประกอบการบำบัดโรคสัตว์แห่งประเทศไทย ในการประชุมใหญ่สามัญประจำปี 2565 และการประชุมวิชาการบำบัดโรคสัตว์เลี้ยง ครั้งที่ 27 (The 14th VPAT Regional Veterinary Congress - VRVC 2022) วันจันทร์ที่ 20 มิถุนายน 2565 ณ ศูนย์การแสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี จ.นนทบุรี 

 คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขอแสดงความยินดีกับ รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.สุรชัย พิกุลแก้ว รองคณบดีฝ่ายมาตรฐานและคุณภาพห้องปฏิบัติการ พร้อมด้วยทีมวิจัยจากคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประกอบด้วย รศ.ดร.ภญ.ศิริพร โอโกโนกิ อ.ดร.ภญ.กัณฐภรณ์ เขียวฟู และ ผศ.ว่าที่ ร.ต.ดร.ทนงศักดิ์ สัสดีแพง ที่ได้รับการจดทะเบียนสิทธิบัตรการประดิษฐ์จากกรมทรัพย์สินทางปัญญา จากผลงาน “องค์ประกอบนาโนอิมัลชันของน้ำมันกานพลูอนุภาคนาโนสำหรับใช้สลบปลา" เลขที่สิทธิบัตร 87699 ยื่นขอวันที่ 5 มีนาคม 2558 และได้รับความคุ้มครองตั้งแต่วันที่ 8 เมษายน 2565 ถึง 4 มีนาคม 2578 และ ผลงาน "กรรมวิธีการเพิ่มการละลายในน้ำและป้องกันการตกตะกอนซ้ำของไครซิน” เลขที่สิทธิบัตร 87719 ยื่นขอวันที่ 14 สิงหาคม 2558 และได้รับความคุ้มครองตั้งแต่วันที่ 19 เมษายน 2565 ถึง 13 สิงหาคม 2578  

คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้รับการจัดอยู่ในอันดับที่ 3 ของประเทศ อันดับที่ 53 ของเอเชีย และอันดับที่ 249 ของโลกด้านสัตวแพทย์
โดย Scimago Institutions Rankings 2022

วารสาร Veterinary Integrative Sciences (Vet. Integr. Sci.) ของคณะสัตวแพทยศาสตร์ มช. ถูกจัดให้อยู่ใน Q3 สาขาสัตวแพทย์ ใน Scimago ranking 2022

สามารถคลิกดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ ที่นี่


ติดตามวารสาร Vet. Integr. Sci. ได้ ที่นี่

คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขอแสดงความยินดีกับ

- TOP 4 รศ.น.สพ.ดร.วีระศักดิ์ ปัญญาพรวิทยา คลินิกสัตว์เคี้ยวเอื้อง ภาควิชาคลินิกสัตว์บริโภค

- TOP 9 รศ.น.สพ.ดร.ฉัตรโชติ ทิตาราม คลินิกช้างและสัตว์ป่า ภาควิชาคลินิกสัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า

ที่ได้รับการอ้างอิง (Citation) ผลงานทางวิชาการ ติดอันดับ TOP 10 ของประเทศ สาขาสัตวแพทย์ จากทั้งหมด 500 คน ในฐานข้อมูล SciVal ระหว่างปี 2016 ถึง 2021

คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขอแสดงความยินดีกับ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร. สุวิทย์ โชตินันท์ สังกัดภาควิชาคลินิกสัตว์บริโภค คลินิกสัตว์ปีก ในโอกาสได้รับทุนอุดหนุนการทำกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรม ประจำปีงบประมาณ 2565 จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) แผนงาน “การขับเคลื่อนเชิงบูรณาการเพื่อยกระดับไก่พื้นเมืองไทยสู่สัตว์เศรษฐกิจ และยกระดับกระจายรายได้สู่เกษตรกรในภาคเหนือของประเทศไทย”

คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขอแสดงความยินดีกับ ผศ.สพ.ญ.ดร.วาสนา ไชยศรี อาจารย์สังกัดภาควิชาคลินิกสัตว์บริโภค คลินิกสัตว์เคี้ยวเอื้อง ในโอกาสได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ "รองศาสตราจารย์"

คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขอแสดงความยินดีกับ อ.น.สพ.ดร.ธวัชชัย สิงห์หล้า อาจารย์สังกัดภาควิชาคลินิกสัตว์บริโภค คลินิกสัตว์เคี้ยวเอื้อง ในโอกาสได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ "ผู้ช่วยศาสตราจารย์"

ขอแสดงความยินดีกับ  ศ.น.สพ.ดร.วิทยา สุริยาสถาพร สังกัดภาควิชาคลินิกสัตว์บริโภค คลินิกสัตว์เคี้ยวเอื้อง ในโอกาสได้รับการแต่งตั้งเป็น "ศาสตราจารย์แต่งตั้ง (Designated Professor)" การจัดการหลักสูตร Transnational Doctoral Programs for Leading Professional in Asian Countries ของมหาวิทยาลัยนาโกย่า ประเทศญี่ปุ่น

ขอแสดงความยินดีกับ ศ.น.สพ.ดร.กรกฎ งานวงศ์พาณิชย์ คณบดีคณะสัตวแพทยศาสตร์  ในโอกาสเข้ารับรางวัลศิษย์เก่าดีเด่น ประจำปี 2564 สาขาวิชาการ งานวิจัย และการบริหารองค์กรการศึกษา จากสมาคมนักศึกษาเก่าเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2565 ณ ลานอเนกประสงค์ อาคารเรียนเดิม คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ขอแสดงความยินดีกับ ผศ.น.สพ.ดร.นิธิดล บูรณพิมพ์ สังกัดภาควิชาคลินิกสัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า คลินิกช้างและสัตว์ป่า ในโอกาสได้รับอนุมัติบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ ประจำปี 2564 สาขาศัลยศาสตร์

ขอแสดงความยินดีกับ ผศ.สพ.ญ.ดร.คคนางค์ ปิยะรังษี สังกัดภาควิชาคลินิกสัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า คลินิกสัตว์เล็ก ในโอกาสได้รับอนุมัติบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ ประจำปี 2564 สาขาอายุรศาสตร์

ขอแสดงความยินดีกับ ศ.น.สพ.ดร.กรกฎ งานวงศ์พาณิชย์ สังกัดหน่วยพรีคลินิกทางสัตวแพทย์ ภาควิชาชีวศาสตร์ทางสัตวแพทย์และสัตวแพทย์สาธารณสุข ได้รับรางวัล “นักศึกษาเก่าเกียรติยศ” ด้านบริหารองค์กรการศึกษา ในวาระการสถาปนาคณะเกษตรศาสตร์ ครบรอบ 55 ปี เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2565 ณ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ขอแสดงความยินดีกับ รศ.น.สพ.ดร.กรกฎ งานวงศ์พาณิชย์ อาจารย์ประจำภาควิชาชีวศาสตร์ทางสัตวแพทย์และสัตวแพทย์สาธารณสุข ที่ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์ เนื่องในโอกาสวันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ที่อยู่

155 หมู่ 2 ตำบลแม่เหียะ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50100

ติดต่อสอบถาม 
Tel. 053-948002 , Fax.053-948065

Follow Us
โรงพยาบาลสัตว์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • โรงพยาบาลสัตว์เล็ก
  • tel.053 948031

  • โรงพยาบาลสัตว์ใหญ่
  • tel.053-948038

  • โรงพยาบาลสัตว์แม่ออน
  • tel.053-037071

  • ศูนย์สุขภาพช้างและสัตว์ป่า
  • tel.053 948097

  • ศูนย์ชันสูตรโรคสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี
  • tel.053-948041

  • ศูนย์สัตวแพทย์สาธารณสุขและอาหารปลอดภัยเอเชียแปซิฟิก (VPHCAP)
  • tel.053-948073
 Free Website  Creation Software

Created with Mobirise ‌

Best HTML Website Builder